Sixth : Learning log (22 ndSeptember , 2015)
If clauses หรือ Conditional Sentences
ภาษาอังกฤษล้วนมีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบันนี้
ถือได้ว่าภาษาอังกฤษมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งกับคนไทยและคนทั่วโลก
เพราะทุกคนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารกันโดยตรง
การใช้อินเทอร์เน็ต การดูทีวี การดูภาพยนตร์ การเขียน เป็นต้น ซึ่งการติดต่อสื่อสารเหล่านี้เป็นการติดต่อสื่อสารที่ต้องอาศัยทักษะทางภาษาเพื่อที่จะถ่ายทอดให้คนดู
คนฟังเข้าใจ
ทุกคนจะต้องมีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ มีทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน มีกลวิธีในการถ่ายทอดไปสู่ผู้ฟังและผู้อ่านก็จะทำให้การสื่อสารนั้นเป็นไปอย่างราบรื่นและไม่ติดขัด
ซึ่งการพูดและการเขียนบอกเงื่อนไขต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆเพื่อบอกถึงความคิด
ความเป็นเหตุเป็นผลเพื่อให้ผู้อื่นเพื่อให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจในสิ่งที่พูดละเขียน
เพื่อถ่ายทอดเจคติของผู้พูดว่ารู้สึกอย่างไรต่อสิ่งนั้นๆ ซึ่งดิฉันจะพูดถึงเรื่อง If clauseในประเภทต่างๆ ซึ่งเป็นประโยคเงื่อนไขต่างๆ
บอกความเป็นเหตุเป็นผลและทำให้ผู้พูดสามารถแยกแยะได้ว่าอะไรเป็นสาดหตุ
อะไรเป็นผลทั้งที่เกิดในอดีต ปัจจุบันและในอนาคต
If Clauses หรือ Conditional Sentences คือ ประโยคที่มีข้อความแสดงเงื่อนไข (conditions)
หรือการสมมุติซึ่งประกอบด้วยประโยคเล็ก 2
ประโยครวมกัน และเชื่อมด้วย conjunction "if"
ประโยคที่นำหน้าด้วย if แสดงเงื่อนไข เราเรียกว่า if-clause และประโยคที่แสดงผลเงื่อนไขนั้น
เราเรียกว่า main clause หรือ If-sentence คือ
ประโยคเงื่อนไขที่ใช้เพื่อแสดงว่า ‘ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นก็จะมีอีกเหตุการณ์หนึ่งตามมา’
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ‘ถ้ามีประโยคเหตุ (if
clause) เกิดขึ้น ก็จะมีประโยค (result
clause) ผลตามมา’ ประโยคเงื่อนไข (Conditional Sentences) เป็นลักษณะประโยคที่บอกการกระทำของกิริยาอีกลักษณะหนึ่งที่มีความสำคัญพอๆ
กับเรื่อง “mood” เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ข้อความของประโยคในรูปแบบต่างๆ จะแสดงความหมายไม่เหมือนกัน ข้อความบางอันเป็นจริง
แต่ข้อความบางอันไม่เป็นจริง เป็นแต่การสมมุติเท่านั้น If Clauses หรือ Conditional
Sentences สามารถแบ่งได้เป็น
2 ประเภทใหญ่ๆได้แก่ real condition และ unreal
condition
1.Real
conditions
Real
Conditions ใช้เพื่อบอกเงื่อนไขและผลที่อาจจะเกิดขึ้นก็คือเพื่อบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริงโดย Real condition นี้จะแบ่งเป็น 4 ประเภท
ดังนี้
1.) Generic
conditionals เป็นการบอกความจริงที่ปรากฏในความจริงทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างเช่น
·
If the temperature reaches
0 degree celsius , water freezes.
·
If a gas is heated , it expands.
·
The monitor does not
function if the contact strip is not moist.
·
If the sun shines all day , it gets hot.
*
If-clause + Result clause
= present simple + present simple
2.) Habitual conditionals เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
เป็นการบอกลักษณะนิสัย เช่น
·
If she is his scrabble partner , they(usually) lose.
·
If her friends studied in the library, she did
too.
·
She studied
in the library if her friends went with her.
·
If we ate out at all , it was always in a
cheap restaurant.
·
Whenever she is his
scrabble partner , they(usually) lose.
* If-clause + Result clause = present simple + present simple/ past simple + past simple
3.) Inference conditionals เป็นการอ้างถึงจากสิ่งหนึ่งไปยังอีกสิ่งหนึ่ง เป็นการลงความเห็น
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดได้ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เช่น
· If
we can save the
bald eagle from extinction , we can certainly ensure the survival of other
endangered species.
· If
Manat left before rush out , he
probably had a quick trip home.
· If he likes Thai food , then he likes
Thai herbs. If he likes Thai food and herbs,
he probably likes Thai dance.
· You said there are only two points of entry to the room. Well , if
the door was locked , then the thief had to come
through the window.
* If-clause + Result clause = [(modal verb) +
present simple + (modal verb) present
simple] หรือ past simple + past simple
4.) Future conditionals เป็นการบอกผลที่เกิดขึ้นในอนาคต ใช้ในคำสั่ง คำแนะนำและคำถาม เช่น
·
If you come at 8 , I will wait
for you.
·
If you don’t leave now , you will miss your plane.
·
If I’m late , don’t wait
up.
·
If you arrive
home early , please cook the dinner for us.
*
If-clause + Result clause = present simple + present simple
2. Unreal conditions
2.1) Hypothetical
conditionals เป็นการสัณนิฐาน เป็นข้อสมมติฐาน ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ได้ ซึ่งสามารถแบ่งย่อยอีกเป็น 2 ประเภท
ได้แก่ Future unreal และ Present
unreal
Future
unreal มีโครงสร้างของประโยคคือ
If clause + Result clause
= simple past + would + simple form ส่วน Present unreal มีโครงสร้างของประโยคคือ
If clause + Result clause = simple past +
would/could/might+ simple form ถ้าเราต้องการกล่าวถึงเงื่อนไขต่างๆในปัจจุบันและอนาคตที่เป็นการสมมติหรือจินตนาการให้บางสิ่งเกิดขึ้น
เราจะใช้ if-sentence และ tenses ดังตัวอย่างประโยคต่อไปนี้
·
If I found her address, I would send her an
invitation.
·
If I had a lot of money, I wouldn’t stay
here.
·
If I had money , I would go abroad.(=I
don’t have money right now.)
·
What would you do
if you came top in the exam?(= I have a lot of doubt.)
·
John is very lazy. If he didn’t
study hard , he wouldn’t pass his exam. (=John is very lazy, he
isn’t likely to study hard.)
· What would you do
if you saw a ghost?
· If I knew her name, I would
tell you.
· It would be nice if
you helped me do the housework.
v
ผู้พูดแสดงความสงสัยว่าเหตุการณ์ที่สมมติจะไม่เกิดขึ้น
เพราะฉะนั้นผลของการสมมติจะไม่เกิดขึ้นเช่นเดียวกัน
·
If I were you , I would not say that.
·
If I were you, I would not do this.
·
If the salary were better, I would accept
the offer.
·
If today were Sunday , I would be at
home. (but today isn’t Sunday.) (= Were today Sunday I would be at home.)
·
If I were taller, I would buy this dress.
·
If I were 20, I would travel the world.
·
If I were you , I would go to study
abroad.
·
If I were you, I would give up smoking.
·
If I were a plant, I would love the rain.
v เมื่อพูดถึงสิ่งที่เป็นไปไม่ได้หรือจินตนาการ (Impossible and imaginary)
v
การละรูป if จะใช้กับกริยา were
· If I were you , I would
go to study abroad.(=Were I you , I would go to study abroad.)
· If I were a bird , I would
fly all over the world.(= Were I a bird , I would fly all over the
world.)
v
(การละรูป if ที่ใช้กับกริยา were)
v
หมายเหตุ — เราใช้ were กับประธานที่เป็นทั้งเอกพจน์และพหูพจน์
เช่น if I were , if he were , if she were , if they were , เป็นต้น เพราะเป็นการสมมติจากจินตนาการ แต่ถ้าใช้ was
กับประธานเอกพจน์ก็ได้เช่นกัน
เช่น If I was, ect. นอกจาก would ที่ใช้ใน main clause แล้ว ยังมีกริยาช่วย should
, might , could ที่สามารถใช้ใน
Conditional Type Two นี้ได้อีก แต่ความหมายแตกต่างกันออกไป
· If she came , I should/would
see her. (แสดงผลที่จะเกิดขึ้นตามสมมติ certain
result)
· If she came , I might
see her. (แสดงการคาดคะเน possibility)
· If it stopped snowing ,
he would go out. (certain result)
· If it stopped snowing
, you could go out. (permission , ability)
v
การใช้ Conditional Sentences Type Two อื่นๆ
v
เราใช้ were to + V1 แทน Past Simple ใน if-clause
เพื่อเน้นถึงการสมมติที่ไม่น่าจะเป็นไปได้
·
If I passed the exam , he would be
astonished.
·
If I were to pass the exam , he would be
astonished.(ในประโยคทั้งสองข้างต้นนี้ มีความหมายเหมือนกัน
v
แต่ประโยคที่ใช้
were to นั้น ผู้พูดมิได้หวังว่าจะสอบผ่าน)
· If he went , he would
tell you first.
If he were to to go ,
he would tell you first.(were to go กล่าวถึงแผนการและการเสนอแนะ)
· She wouldn’t cry
like that if she weren’t ill. (= She
wouldn’t cry like that unless she were ill.)
· I wouldn’t eat them if
I didn’t like them. (= I wouldn’t like them
unless I liked them.)
v เมื่อแสดงความรำคาญในกรณีที่ถูกรบกวน
·
If you would stop
singing , I would be able
to study.
v ใช้ในจดหมายราชการ หรือจดหมายธุรกิจ
· I would be very
grateful if you would pay your bill.
· We should appreciate
it if you would fill in this form.
2.2) Counterfacual conditionals
If clause ชนิดนี้แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ๆได้แก่
Past unreal มีโครงสร้างของประโยคคือ
If clause + Result clause = past Perfect + would + have+ past participle ใช้กับเหคุการณ์ที่ตรงข้ามความจริงในอดีต ส่วน Present unreal มีโครงสร้างของประโยคคือ
If clause + Result clause = simple past + would +
simple form ใช้กับเหตุการณ์ที่ตรงข้ามความจริงในปัจจุบันหรืออนาคต
เช่น
·
If Sinee had
got that job , she wouldn’t have gone abroad.
·
If I had known your arrival , I would have met
you at the airport.
·
If you had worked harder, you would have passed
your exam.
·
If you had asked me, I would have told
you.
·
I would have been in
big trouble if you had not helped me.
·
I would have passed
the exam last smester if I had studied hard.
(= Had I studied hard , I would have passed the exam last
semester.)
·
ความเป็นจริงในอดีต : My wife was so angry with me. I
forgot that yesterday was her birthday.
สิ่งสมมุติ : My wife wouldn’t have been so angry with me if
I hadn’t forgotten that yesterday was her birthday.
(=Had I not forgotten that yesterday was my wife’s birthday, she
wouldn’t have been so angry with me.)
·
สิ่งสมมุติ : If you had gone to the party last
night , you would have met your girlfriend.
( = Had you gone to the party last night, you would have met your
girlfriend.)
·
ความเป็นจริงในอดีต : My wife was so angry with me. I
forgot that yesterday was her birthday.
สิ่งสมมุติ : My wife wouldn’t have been
so angry with me if I hadn’t forgotten that yesterday was
her birthday.
(=Had I not forgotten that yesterday was my wife’s birthday, she
wouldn’t have been so angry with me.)
·
ความเป็นจริงในอดีต : I had an accident last year . I
drove the car very fast.
สิ่งสมมุติ : I wouldn’t have had an accident last year if I
hadn’t driven the car very fast.
(= Had I not
driven the car so fast, I wouldn’t have had an accident last year.)
**** หมายเหตุ ****
การสมมุติเหตุการณ์อาจเป็นการผสมผสานกันของเหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบันก็ได้
ซึ่งเราจะเรียกว่า เป็นแบบผสม (Mixed
Type) กล่าวคือ การสมมุติเหตุการณ์ที่ตรงกันข้ามกับความจริงในอดีต
ใช้ Type Three
v
เป็นการสมมติในอดีต
แสดงเงื่อนไขที่ไม่อาจเป็นไปได้เลยและตรงกันข้ามกับความเป็นจริงในอดีต
·
If I had met you
before, we would have been together.
·
If I had had her email address, I would have
written to her.
v
ถ้าเป็นเหตุการณ์ในอดีตกับปัจจุบันสังเกตจาก
now ให้เปลี่ยน Tense ใน main-clause
จาก would have + v.3 เป็น would + v.1
·
If there had been no floods last year, the crop
would be better now.
v
เราสามารถละ if โดยนำ had ในประโยค if-clause
มาไว้หน้าประโยคแทน
·
If I had known that, I would have lent
you mine.
·
Had I known that,
I would have lent you
mine.
v
นอกจากคำว่า if แล้ว ยังมีคำอื่นๆที่ใช้ในประโยคเงื่อนไข
-
suppose หรือ supposing = สมมุติว่า
-
on condition that หรือ
on the condition that = โดยมีเงื่อนไขว่า
-
so long as หรือ as long
as = ถ้า, ตราบใดที่
-
what if = สมมุติว่า
·
If I didn’t study in NSTRU , we wouldn’t be
friends.
·
If they were alive today , we would enjoy
their stage performance.
v
เหตุการณ์ที่ตรงข้ามความจริงในปัจจุบันหรืออนาคต
จากการที่ได้ศึกษาเรื่อง
If clauses ชนิดต่างๆทำให้ดิฉันรู่ว่า If clause มีหลายชนิดซึ่งสามารถสังเกตได้ตามโครงสร้างของประโยค If clause แบ่งเป็นประเภทใหญ่ได้เป็น
Real conditions กับ Unreal conditions ซึ่งแต่ละประเภทก็สามารถแบ่งย่อยออกไปได้อีกหลายประเภท ความรู้เรื่องIf clauses สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้ทั้งที่เกิดขึ้นในอดีต
ปัจจุบันและอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่อาจเกิดขึ้นจริงก็ได้
ดังนั้นดิฉันมีการ Tenses ว่าIf clause ประเภทไหนใช้กับTense อะไร
ซึ่งจะทำให้รู้ว่าอะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผลที่จะเกิดขึ้น จากการที่ดิฉันได้ศึกษาเรื่อง If clauses
ประเภทต่างๆดิฉันคิดว่าดิฉันสามารถเข้าใจถึง If clause แต่ละประเภทได้อย่างชัดเจน
สามารถนำความรู้เรื่อง If clauses
ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้จริง เช่น นำไปสนทนาได้จริงๆ นำไปเขียนได้จริงๆ เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น